สวัสดี ,,  ยินดีต้อนรับสู่ บล็อก ครับผม ^__^




ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับโปรแกรม Quick BASIC กันก่อนดีกว่า




Microsoft QuickBASIC  เป็นการ คอมไพเลอร์พื้นฐาน สำหรัลภาษาการเขียนโปรแกรม ที่ได้รับการพัฒนาโดย Microsoft QuickBASIC ส่วนใหญ่ทำงานบน ดอส  แต่จะมีช่องที่กำหนดประเภทของผู้ใช้ที่ปรับปรุงโครงสร้างการเขียนโปรแกรม กราฟิกที่ดีกว่าและการสนับสนุนดิสก์และคอมไพเลอร์นอกเหนือจากการ ล่าม 


ประวัติความเป็นมา☺

ไมโครซอฟท์เปิดตัวรุ่นแรกของ QuickBASIC ที่ 18 สิงหาคม 1985  และต่อมาได้มี การพัฒนาแบบบูรณาการสิ่งแวดล้อม (IDE) ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขได้โดยตรงในส่วนของหน้าจอในโปรแกรมแก้ไขข้อความ   แม้ว่าการพัฒนาของ Microsoft BASIC Professional Development System (PDS) อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งรุ่นล่าสุดของการ 7.1 รุ่นในตุลาคม 1990  ในขณะเดียวกัน, บรรจุภัณฑ์ QuickBASIC แก้ไขอย่างเงียบ ๆ เพื่อให้ดิสก์ที่ใช้การบีบอัดเดียวกับที่ใช้สำหรับขั้นพื้นฐาน PDS 7.1 PDS Basic 7.x รุ่น IDE ถูกเรียก QuickBASIC Extended (QBX) และมันวิ่งบน DOS เท่านั้นซึ่งแตกต่างจาก 7 ส่วนที่เหลือของ PDS Basic x, ที่ยังวิ่งบน OS / 2   เซตย่อยของ QuickBASIC 4.5, ตั้งชื่อ QBasic , มาพร้อมกับ MS - DOS 5 และรุ่นที่ใหม่กว่าแทน GW - BASIC รวมกับรุ่นก่อนหน้าของ MS - DOS Compared to QuickBASIC
 QBasic ถูก จำกัด ให้ล่ามอย่างเดียวไม่มีฟังก์ชั่นน้อยเพียงสามารถจัดการกับโปรแกรมที่มีขนาด จำกัด และขาดการสนับสนุนสำหรับโมดูลโปรแกรมแยกต่างหาก  เนื่องจากขาดคอมไพเลอร์จะไม่สามารถนำมาผลิตเป็นแฟ้มที่ปฏิบัติการได้ แต่รหัสที่มาของโปรแกรมยังคงสามารถรวบรวมโดย QuickBASIC 4.5, PDS 7.x หรือ VBDOS 1.0 คอมไพเลอร์หากมี
QuickBASIC 1.00 for the Apple Macintosh operating system was launched in 1988. QuickBASIC 1.00 สำหรับ Apple Macintosh ระบบปฏิบัติการเปิดตัวในปี 1988 จะได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการในเครื่องที่ใช้ ระบบ 6 อย่างน้อย 1 MB ของ RAM QuickBASIC ยังสามารถทำงานบน ระบบ 7 ตราบใดที่ 32 บิตที่อยู่ถูกปิดใช้งาน; นี้เป็นไปไม่ได้บน โมโตโรล่า 68,040 ใช้เครื่องแมคอินทอช .

การใช้งานปัจจุบัน☻

QuickBASIC ยังคงใช้ในบางโรงเรียนโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของการแนะนำการเขียนโปรแกรม  นอกจากนี้ยังมีใช้ในชุมชนเป็นงานอดิเรกที่ใช้เขียนโปรแกรมคอมไพเลอร์ที่จะเขียน เกม , GUIs และ สาธารณูปโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คอมพิวเตอร์วินเทจ  ได้รับสามารถที่จะเขียนซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์เก่าที่เรียกใช้ DOS ซึ่งช่วยให้เครื่องเหล่านี้ในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ผ่าน LAN หรืออินเตอร์เน็ต  ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกับระบบเก่าเป็น 8088 เพื่อตอบสนองฟังก์ชั่นใหม่ ๆ เช่นทำหน้าที่เป็น เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือการใช้ IRC .






เมื่อรู้จักกับโปรแกรมไปแล้ว คราวนี้เรามาดูคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรมกัน
 


เพื่อน ๆ สามารถคลิกที่รูปคำสั่ง เพื่อเข้าดูรายละเอียดได้เลยนะครับ

















ฟังเพลง เบาๆ * ไปด้วยจะได้อารมณ์ดี ^^

คำสั่ง LET

          เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร เมื่อมีการ Run Let จะกำหนด ไว้ใน Source Code อยู่แล้ว อาจจะใส่หรือไม่ใส่คำสั่งก็ได้




รูปแบบ
LET [variable]=[ค่าที่กำหนด]



ตัวอย่าง


 

คำสั่ง SELECT...CASE

          เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการกำหนดเงื่อนไข มีลักษณะคล้าย กับคำสั่ง IF..THEN..ELSE แต่จะมีการป้อนข้อมูลที่ง่ายกว่า เมื่อเงื่อนไขแรกไม่เป็นจริงจะทำเงื่อนไขต่อไป จนเป็นจริง

รูปแบบโครงสร้างคือ
Case Is >=    

หรือ 
Case <จำนวน> To <จำนวน>



รูปแบบ

SELECT CASE [variable]
CASE is  [statement]
     [statement] 
CASEELSE
     [statement]
END SELECT


ตัวอย่าง




          จากรูปกำหนดเงื่อนไขให้ทำการคิดเกรด โดยการใช้ รูปแบบ Case <จำนวน> To <จำนวน>  เมื่อรับค่่า แล้ว จะแสดง คะแนน และ เกรด

คำสั่ง END

          เป็นคำสั่งจบการ Compile ถ้ามีคำสั่ง End ปิดท้ายแล้ว โปรแกรมจะไม่ Compile คำสั่งในบรรทัดต่อ ๆ ไป



รูปแบบ


[statementblock]
[statementblock]
END


ตัวอย่าง



          จากรูปจะเห็นได้ว่า เมื่อใส่ END ไปแล้ว คำว่า Mind ก็จะไม่แสดง 

คำสั่ง IF...THEN...ELSE

          คำสั่งที่ใช้ในการกำหนดเงื่อนไข


รูปแบบ

IF condition THEN
       statementblock
ELSEIF codition THEN
       statementblock
ELSE
       statementblock
END IF



ตัวอย่าง



          จากรูปกำหนดเงื่อนไข เป็นการคิดเกรด เมื่อป้อนคะแนนลงไปแล้ว จะแสดงเกรด

คำสั่ง TAB

          เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่ง หรือการเว้นวรรค



รูปแบบ

PRINT TAB (ตัวเลข, ตัวเลข) "ข้อความ"


ตัวอย่าง



         จากตัวอย่าง เมื่อใส่ TAB ไป1  คำว่า ICE จะอยู่ในตำแหน่งที่1   คำว่า Hello จะอยู่ในตำแหน่งที่ 7   ส่วนคำว่า MissYou จะอยู่ในตำแหน่งที่ 14

คำสั่ง CLS

          เป็นคำสั่งที่เอาไว้สำหรับการทำความสะอาดหน้าจอโปรแกรม หรือที่เรียกว่า CLEAR SCREEN เพื่อเป็นการลบข้อมูลที่เราป้อนไปก่อนหน้านั้นทิ้ง ผู้เขียนโปรแกรมจะได้ไม่เกิดความสับสน


รูปแบบ

CLS
[statementblock]


ตัวอย่าง




         
          ในกรณีที่เราไม่ได้ใส่คำสั่ง CLS เมื่อกด RUN จะขึ้นตามจำนวนที่กด (ในรูป กด RUN ไป 4 ครั้ง)


คำสั่ง COLOR

          เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการใส่สีให้กับข้อมูล



รูปแบบ
COLOR สีตัวเลข, สีพื้นหลัง


ตัวอย่าง


คำสั่ง DO...UNTIL

          ทำในขณะที่เป็นเท็จ ถ้าเป็นจริงจึงจะออกจากการทำซ้ำ


รูปแบบ

DO
[statementblock]
LOOP UNTIL condition


ตัวอย่าง


 

คำสั่ง DO...WHILE

          ทำในขณะที่เป็นจริง ถ้าเป็นเท็จจึงจะออกจากการทำซ้ำ


รูปแบบ

While [condition]
       [statementblock]
WEND

หรือ  DO WHILE [condition]
           [statementblock]
        LOOP


ตัวอย่าง


คำสั่ง FOR...NEXT

          เป็นคำสั่งที่ให้ทำงานตามจำนวนรอบที่กำหนดไว้


รูปแบบ

FOR counter = start TO END [STEP increment]
                           [statementblock]
NEXT [counter[, counter]...]



ตัวอย่าง


คำสั่ง LOCATE

          คำสั่ง LOCATE เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดตำแหน่งทางจอภาพ ซึ่งในจอภาพจะมี 25 บรรทัด และ 80 คอลัมน์ เพื่อใช้ในการพิมพ์ค่า หรือรับค่าต่าง ๆ ที่ต้องการตามตำแหน่งที่กำหนดไว้


รูปแบบ

LOCATE ตัวเลขrow,ตัวเลขcolumn



ตัวอย่าง



          จากรูป กำหนดให้แสดง Hello ที่แถวที่ 3  คอลัมน์ที่ 10

คำสั่ง INPUT

          เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับรับข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถทำการกรอกข้อมูลที่ต้องการและเพื่อโต้ตอบกับระบบในการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง




รูปแบบ


INPUT [;] ["prompt" {; 1 ,}] variable


ตัวอย่างที่ 1




ตัวอย่างที่ 2



  
ตัวอย่างที่ 3


คำสั่ง PRINT

          เป็นคำสั่งที่ใช้ในการสั่งพิมพ์ ซึ่งอาจเป็นการสั่งพิมพ์ข้อความ โดยต้องอยู่ในเครื่องหมายคำพูด หรืออาจสั่งพิมพ์ค่าตัวแปร หรือนิพจน์ต่าง ๆ รวมทั้งค่าทางตรรก ซึ่งค่าทางตรรกที่เป็นจริงก็จะแสดงค่าเป็น -1 และหากเป็นเท็จก็จะแสดงค่าเป็น 0


รูปแบบ

PRINT [expressionlist] [{; 1 ,}]


expressionlist อาจจะเป็นข้อความที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูด หรือค่าตัวแปร หรือนิพนจ์ทางคณิตศาสตร์
          อาจใช้เครื่องหมาย ; เพื่อทำการเชื่อมค่าติดกัน หรือ
          ใช้เครื่องหมาย , เพื่อเชื่อมค่าที่ติดกันแต่จะมีช่องว่าที่ห่างกัน 14 Character
          คำสั่ง PRINT อาจจะใช้เครื่องหมาย ? แทนได้ขณะที่พิมพ์ในโปรแกรม โดย Quick Basic จะแปลงเครื่องหมาย ? เป็น PRINT และจัดรูปแบบให้โดยอัตโนมัติหลังจากเคาะ Enter

          คำสั่ง PRINT โดด ๆ หมายถึงการเว้นบรรทัด 1 บรรทัด และคำสั่งในภาษาเบสิกสามารถเชื่อมคำสั่งให้อยู่ภายในบรรทัดเดียวกันได้ด้วยเครื่องหมาย :




ตัวอย่าง